หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์


อาชีพในอนาคต เมื่อสำเร็จการศึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาสัตวศาสตร์

1.นักวิชาการในหน่วยงานรัฐ เช่น กรมปศุสัตว์ กรมการสัตว์ทหารบก หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
2.นักวิชาการในภาคเอกชน เช่น ธุรกิจด้านปศุสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์
3.นักวิชาการในโครงการพิเศษ อาทิ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
4.ผู้ประกอบการธุรกิจสัตว์บก สวนสัตว์ ผู้ดูแลสัตว์ในคลินิก/โรงพยาบาลสัตว์

 

=================================================================================================

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาสัตวศาสตร์

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

=================================================================================================

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา               มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา         คณะเทคโนโลยีการเกษตร

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

 

1.      รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย             : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์

ภาษาอังกฤษ          : Bachelor of Science  Program in Animal Science

2.      ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

     ชื่อเต็ม (ไทย)          : วิทยาศาสตรบัณฑิต (สัตวศาสตร์)

ชื่อย่อ (ไทย)           : วท.บ. (สัตวศาสตร์)

ชื่อเต็ม (อังกฤษ)       : Bachelor of Science Program in Animal Science

ชื่อย่อ (อังกฤษ)       : B.Sc. (Animal Science)

3.      วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร  

         การผลิตปศุสัตว์

4.      จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร   138   หน่วยกิต

5.      รูปแบบของหลักสูตร

     5.1 รูปแบบ  เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี  หลักสูตร 4 ปี

     5.2 ภาษาที่ใช้  ภาษาไทย

     5.3 การรับเข้าศึกษา  รับนักศึกษาไทยและต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ดี

5.4  ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง

5.5  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว

6.      สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.   เริ่มเปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา  

คณะกรรมการสภาวิชาการอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม

ครั้งที่   วันที่  เดือน   พ.ศ.  

สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม

ครั้งที่    วันที่   เดือน    พ.ศ.  

7.      การขอรับการประเมินเพื่อขอรับรองมาตรฐานหลักสูตร

      จะขอรับประเมินเพื่อรับรองหลักสูตรในปีการศึกษา  

 

8.    อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1)      หน่วยงานภาครัฐ กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร เป็นต้น

2)      หน่วยงานภาคเอกชน อาทิ ธุรกิจด้านปศุสัตว์ และฟาร์มปศุสัตว์ เป็นต้น

3)      หน่วยงาน โครงการพิเศษอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ โครงการพระราชดำริ เป็นต้น

4)      หน่วยงานองค์กรอิสระ

5)      ประกอบอาชีพอิสระ

6)      หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

 

9. ชื่อ  ตำแหน่ง  และคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

 

ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่สำเร็จ
การศึกษา

1

  นายมหิศร ประภาสะโนบล

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์)
  สพ.บ. (สัตวแพทย์)

  มหาวิทยาลัยมหิดล
  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2544
2538

2

  นางมนัญญา ปริยวิชญภักดี

  อาจารย์

  วท.ม. (สัตวบาล)
  วท.บ. (เกษตรศาสตร์) 

  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2538
2535

3

  นางสาวสำรวย มะลิถอด

  อาจารย์

  วท.ม. (สัตวศาสตร์)
  วท.บ. (เกษตรศาสตร์) 

  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  สถาบันราชภัฏเพชรบุรี

2549
2545

4

  นางสาวพุทธรัตน์ ก้อนเครือ

  อาจารย์

  วท.ม. (เกษตรศาสตร์)
  วท.บ.(สัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร)

  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยศิลปากร

2553
2549

5

  นายจรัณย์ พิริยะนนท์

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  วท.ม.(เกษตรศาสตร์-สาขาส่งเสริมการเกษตร)
  วท.บ.(ศึกษาศาสตร์เกษตร)

  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2526
2518

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

=================================================================================================

อาชีพในอนาคต เมื่อสำเร็จการศึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาสัตวศาสตร์

1.นักวิชาการในหน่วยงานรัฐ เช่น กรมปศุสัตว์ กรมการสัตว์ทหารบก หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร
2.นักวิชาการในภาคเอกชน เช่น ธุรกิจด้านปศุสัตว์ ฟาร์มปศุสัตว์
3.นักวิชาการในโครงการพิเศษ อาทิ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
4.ผู้ประกอบการธุรกิจสัตว์บก สวนสัตว์ ผู้ดูแลสัตว์ในคลินิก/โรงพยาบาลสัตว์