อาจารย์ ดร.ชมดาว ขำจริง
อาจารย์ ดร. ชมดาว ขำจริง
DR. CHOMDAO KHUMJING
วุฒิการศึกษา
- ปร.ด. (เทคโนโลยีการเกษตร) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Ph.D. (Agricultural Technology) Mahasarakham University
- วท.ม. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม M.Sc. (Plant Production Technology) Mahasarakham University
- วท.บ (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ B.Sc. (Agriculture) Horticulture, Kaseatrt University
รายวิชาที่สอน 2/2559
- 5000101 เกษตรในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
- 5002801 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์ 1 2(0-150)
- 5003802 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์ 2 3(0-250)
- 5004803 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเกษตรศาสตร์ 3 3(0-350)
- 5032201 การผลิตผัก 3(2-2-5)
- 5033301 การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 3(2-2-5)
- 5144903 ปัญหาพิเศษสำหรับครูเกษตร 3(0-6-3)
ผลงานวิจัย/บทความวิจัย/บทความวิชาการ
- พิศาล เพชรคง ศิริพงษ์ เพ็งทลุง ชมดาว ขำจริง เบ็ญจวรรณ ชุติชูเดช และประสิทธิ์ ชุติชูเดช. (2555). การกระตุ้นการงอกของเมล็ดฟักข้าว (Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng.) โดยสารชีวภาพและพืชสมุนไพรบางชนิด. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม : ฉบับงานประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 8.
- ชมดาว ขำจริง. (2556). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ป่าชายเลน จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมศาสตร์วิชาการ ครั้งที่ 9 “การวิจัยเพื่อชุมชน ท้องถิ่น : พลังคนเพื่อพลังท้องถิ่น”. 13-14 กุมภาพันธ์ 2556. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
- Chomdao Khumjing, Nuttawut Sudjaidee, Pitsanu Thongpongam and Arsoon Aonnum. (2013). Effects of manure on Growth and Yield of Jerusalem Artichoke. The 5th Walailak Research National Conference.
- ทิฆัมพร สิงห์เทียน เทวินทร์ จันทวงค์ ภานุวัฒน์ สินเมือง และชมดาว ขำจริง. (2555). อิทธิพลของปุ๋ยมูลไก่และขี้แดดนาเกลือที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแก่นตะวัน จังหวัดเพชรบุรี. วารสารแก่นเกษตร : ฉบับงานประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 9.
ประสบการณ์การทำงาน
- กันยายน 2554 – ปัจจุบัน อาจารย์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
ประสบการณ์การอบรม
- หลักสูตร Q อาสา รุ่นที่ 1 สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน และ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
- อบรมเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อขั้นสูง รุ่นที่ 18 การแยก การเลี้ยง และการรวบรวมโปรโตพลาสต์. ฝ่ายเครื่องมือและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 5-8 สิงหาคม 2557. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
- อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อการประยุกต์ใช้ รุ่นที่ 2. 1-3 กรกฎาคม 2557.ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ฝ่ายเครื่องมือและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สถาบันและวิจัยพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลักเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
ประสบการณ์การสอน/วิชาที่เคยสอน
- การผลิตผัก
- การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ
- ภูมิทัศน์
- สัมมนาทางการเกษตร
- เกษตรในชีวิตประจำวัน
- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของพืชเพื่อการเกษตร
การติดต่อ