หน่วยวิจัยไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่น
1.ชื่อหน่วยวิจัย
(ไทย) หน่วยวิจัยไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่น : มะนาว
(อังกฤษ) Research Unit of Local Ecomomic Fruits : Lime
2.คณะวิจัย
2.1 หัวหน้าหน่วยวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : ดร. ศิริวรรณ แดงฉ่ำ
ตำแหน่ง : พนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ
คุณวุฒิ : วท.ด. (พืชสวน)
ความชำนาญ : เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ สรีรวิทยาไม้ผล
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร : 032 493 270
มือถือ : 089 492 6420
E-mail : siriwan@pbru.ac.th, sdangcham2517@yahoo.com
2.2 ที่ปรึกษาหน่วยวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : นางอุบล สมทรง
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ระดับ 8
คุณวุฒิ : วท.ม. (โรคพืช)
ความชำนาญ : โรคพืชและการจัดการศัตรูพืช การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร: 032 493 270
E-mail : ubol04@hotmail.com
2.3 นักวิจัย/ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : นางวรรณา กอวัฒนาวรานนท์
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
คุณวุฒิ : ปริญญาโท
ความชำนาญ : เทคโนโลยีการผลิตพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร: 032 493 270
E-mail : Wanna_kor@hotmail.com
2.4 นักวิจัย/ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : นางนันท์นภัส สุวรรณสินธุ์
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
คุณวุฒิ : ปริญญาโท
ความชำนาญ : สรีรวิทยา เทคโนโลยีการผลิตพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร: 032 493 270
E-mail : nanapas459@gmail.com
2.5 นักวิจัย/ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : นายวรพล เสียงสนั่น
ตำแหน่ง : อาจารย์ 2 ระดับ 7
คุณวุฒิ : ปริญญาโท
ความชำนาญ : ปฐพีวิทยา เทคโนโลยีการผลิตพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร: 032 493 270
2.6 นักวิจัย/ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : ดร. ชมดาว ขำจริง
ตำแหน่ง : พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ
คุณวุฒิ : ปริญญาเอก
ความชำนาญ : เทคโนโลยีการผลิตพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร : 032 493 270
E-mail : yoying_dao@hotmail.com
2.7 นักวิจัย/ผู้ร่วมวิจัย
ชื่อ-นามสกุล : นายทรงศักดิ์ ธรรมจำรัส
ตำแหน่ง : พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ
คุณวุฒิ : ปริญญาโท
ความชำนาญ : เทคโนโลยีการผลิตพืช
สถานที่ติดต่อ : สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
โทรศัพท์/โทรสาร: 032 493 270
E-mail :
3.หลักการและเหตุผล
จังหวัดเพชรบุรีเป็นพื้นที่ทำการเกษตรที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีไม้ผลซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ได้ขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GIS) เช่น ชมพู่พันธุ์เพชรสายรุ้ง นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งผลิตไม้ผลที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เช่น สับปะรด กล้วยหอมทอง มะนาว มะละกอ เป็นต้น
สำหรับมะนาวนั้น ข้อมูลเฉลี่ยจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในปี พ.ศ. 2552-2554 รายงานว่าประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกมะนาวทั้งหมด 99,244 ไร่ มีพื้นที่ให้ผลผลิต 97,228 ไร่ และมีปริมาณผลผลิต 138,042 ตัน โดยพื้นที่ภาคกลางมีการปลูกมะนาวมากที่สุด มากกว่า 50% ของทั้งประเทศ และจังหวัดเพชรบุรีมีการปลูกมะนาวมากที่สุดในประเทศ มีพื้นที่ปลูกเฉลี่ย 31,298 ไร่ พื้นที่ให้ผลผลิต 30,938 ไร่ และ ปริมาณผลผลิต 63,727 ไร่ (ข้อมูลเฉลี่ยปี พ.ศ. 2552-2554) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจังหวัดเพชรบุรีมีปริมาณผลผลิต 50% ของปริมาณผลผลิตทั้งหมดในประเทศไทย ซึ่งพบว่ายังคงมีการขาดแคลน และมีผลผลิตล้นตลาดในบางช่วง ทั้งนี้หากมีระบบบริหารจัดการที่ดี ทำให้ผลผลิตมะนาวมีคุณภาพสม่ำเสมอตลอดปี สามารถเก็บรักษาได้นาน มีเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม จะเป็นประโยชน์กับทั้งเกษตรกรและผู้บริโภคด้วย
จากประเด็นดังกล่าวข้างต้น จึงมีการรวมตัวของนักวิจัยในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดตั้งหน่วยวิจัยไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่น : มะนาว ขึ้น โดยความร่วมมือระหว่างคณาจารย์ในมหาวิทยาลัย นักวิจัย และนักศึกษาที่มีความสนใจในด้านเทคโนโลยีการผลิตมะนาว ในเชิงวิชาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อร่วมสืบสานและอนุรักษ์อาชีพการทำการเกษตรที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวเพชรบุรี ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน ได้แก่ คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
4.วัตถุประสงค์ของหน่วยวิจัย
1. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างนักวิจัยที่มีความรู้และความสามารถทางด้านไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่น (มะนาว) กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
2. เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งให้กับสมาชิกของหน่วยวิจัยในด้านต่างๆ เช่น แหล่งข้อมูลและแหล่งความรู้ การแสวงหาทุนวิจัยจากภายนอก การนำเสนอผลงาน และการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ เป็นต้น
3. เพื่อสร้างผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ด้านไม้ผลเศรษฐกิจในท้องถิ่นที่มีคุณภาพในระดับชาติหรือนานาชาติ
4. เพื่อเป็นแหล่งสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ทั้งอาจารย์ และนักศึกษา
5. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากมะนาว และนำมาใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมต่างๆ เพิ่มมากขึ้น
6. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ และศึกษาดูงานด้านไม้ผลเศรษฐกิจ: มะนาว ให้กับนักเรียน นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป
7. เพื่อพัฒนาสู่ศูนย์ความเป็นเลิศด้านมะนาว (Lime Excellence Center) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ต่อไป
5.ผลงานที่คาดว่าจะได้รับจากหน่วยวิจัย
ประเภทของผลงานวิจัย | ปีที่ 1 | ปีที่ 2 | ปีที่ 3 | รวม |
1. องค์ความรู้ใหม่ (ระบุรายละเอียดเพิ่มเติม) | ||||
2. กระบวนการใหม่ (ระบุรายละเอียดเพิ่มเติม) | / | |||
3. เทคโนโลยีใหม่ (ระบุรายละเอียดเพิ่มเติม) | ||||
4. ต้นแบบ กรุณาระบุระดับของต้นแบบ ดังนี้ พร้อมใช้ (ผลิตภัณฑ์) (Product) ระดับภาคสนาม (Field Prototype) ระดับห้องปฏิบัติการ (Lab Prototype) |
||||
5. การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ วารสาร ระดับนานาชาติ การประชุม/สัมมนา ระดับนานาชาติ วารสาร ระดับชาติ การประชุม/สัมมนา ระดับชาติ |
- - - / |
- - - / |
- - - / |
|
6. ทรัพย์สินทางปัญญา สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายทางการค้า อื่น ๆ โปรดระบุ ...................................... |
||||
7. รายงานต่าง ๆ รายงานฉบับสมบูรณ์ บทคัดย่อ หนังสือ/ตำราวิชาการ วิทยานิพนธ์ อื่น ๆ โปรดระบุ.................................. |
/ / - - - |
/ / - - - |
/ / / - - |
|
8. การถ่ายทอดเทคโนโลยี ระบุประเภท และจำนวนครั้ง/จำนวนคนที่คาดว่าจะเข้าร่วม | / | / | ||
6.งบประมาณ (ไม่เกิน 100,000 บาท)
งบประมาณเงินรายได้ สนับสนุนจากสถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จำนวน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน)
7.ขั้นตอนการดำเนินงาน
รายละเอียดการดำเนินงาน | ปีที่ 1 | ปีที่ 2 | ปีที่ 3 |
1. ยื่นขอจัดตั้งหน่วยวิจัย | / | ||
2. ขอรับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากแหล่งทุนภายในและภายนอกสถาบัน | / | / | / |
3. เผยแพร่ผลงานวิจัย ตีพิมพ์ผลงานในวารสารระดับชาติ/ ระดับนานาชาติ | / | / |
8.แผนการดำเนินการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2559
เริ่มดำเนินงานตั้งแต่กรกฎาคม 2556 –กันยายน 2560 โดยขอรับสนับสนุนงบประมาณจากเงินรายได้ ประจำปี 2557-2559 ระยะเวลาดำเนินการ เบื้องต้น 3 ปี
รายละเอียดของกิจกรรมที่จะดำเนินการในรอบ 3 ปี (พ.ศ. 2557-2559)
Last modified onวันพุธ, 25 มีนาคม 2558 14:23