หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร


อาชีพในอนาคต เมื่อสำเร็จการศึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1. หัวหน้างาน (Supervisor) โรงงานอุตสาหกรรมอาหารและสถานประกอบการทั้งในและต่างประเทศ เช่น ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) ฝ่ายควบคุมภาพ (QC) ฝ่ายผลิต
2. ผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมอาหารแปรรูป เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
3. ผู้ตรวจประเมินโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร (Auditor)

=================================================================================================

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558

=================================================================================================

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา               มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา         คณะเทคโนโลยีการเกษตร

 

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

      1.      ชื่อหลักสูตร

            ภาษาไทย             : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

            ภาษาอังกฤษ         : Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

      2.      ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

            ชื่อเต็ม (ไทย)          : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

            ชื่อย่อ (ไทย)           : วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

            ชื่อเต็ม (อังกฤษ)      : Bachelor of Science (Food Science and Technology)

            ชื่อย่อ (อังกฤษ)       : B.Sc. (Food Science and Technology)

      3.      วิชาเอกของหลักสูตร     วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

      4.      จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร   ไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต

      5.      รูปแบบของหลักสูตร

            5.1  รูปแบบ  หลักสูตรระดับปริญญาตรี  หลักสูตร 4 ปี

            5.2  ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย

            5.3  การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ

            5.4  ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

            5.5  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา เมื่อสำเร็จการศึกษาจะได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

      6.      สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร 

            - หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558   เริ่มเปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา   2558

            - หลักสูตรได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการบริหารวิชาการคณะ/มหาวิทยาลัย ครั้งที่  7/2558   วันที่  18  เดือน  มิถุนายน พ.ศ.  2558

            - คณะกรรมการสภาวิชาการอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่  7/2558   วันที่  2  เดือน กรกฏาคม  พ.ศ.  2558

            - สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่  7/2558  วันที่  20  เดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2558

      7.      การขอรับการประเมินเพื่อขอรับรองมาตรฐานหลักสูตร  จะขอรับประเมินเพื่อรับรองหลักสูตรในปีการศึกษา 

      8.      อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา

            1)      สามารถทำงานในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการฝ่ายผลิต ฝ่ายควบคุมและประกันคุณภาพ ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ นักภชนาการ เป็นต้น

            2)      สามารถประกอบอาชีพอิสระด้านอาหารต่าง ๆ ได้

            3)      สามารถเป็นตัวแทนธุรกิจด้านอาหารและผลิตภัณฑ์ได้

            4)      สามารถเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้

       9.      ชื่อ   ตำแหน่ง  และคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่งทางวิชาการ

คุณวุฒิการศึกษา

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปีที่สำเร็จ
การศึกษา

1   ผศ. ประกาศ  ชมภู่ทอง

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต(เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร)

  สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้

2534

2

  ผศ. บำเพ็ญ  นิ่มเขียน

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์การอาหาร)
  วิทยาศาสตรบัณฑิต(เทคโนโลยีการอาหารและโภชนศาสตร์) 

  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม

2544
2536

3

  ผศ. สุภัทรา  กล่ำสกุล

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(วิทยาศาสตร์การอาหาร)  
  วิทยาศาสตรบัณฑิต(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) 

  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตบางพระ

2543
2537

4

  ผศ. อรอนงค์  ศรีพวาทกุล

  ผู้ช่วยศาสตราจารย์

  วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมอาหาร) วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีชีวภาพ)

  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมธนบุรี
  มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2537
2532

5

  ดร.จินตนา  วิบูลย์ศิริกุล

  อาจารย์

  Doctor of Philosophy Agricultural Science(Food Science and Biotechnology)
  Master of Science(Food Science)
  วิทยาศาสตรบัณฑิต(พัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร) 

  Kyoto University

  RutgersUniversity            
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2551

2546
2540

10.  สถานที่จัดการเรียนการสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์การเรียนการสอนที่มีอยู่ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร และคณะอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

=================================================================================================

อาชีพในอนาคต เมื่อสำเร็จการศึกษาจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

1. หัวหน้างาน (Supervisor) โรงงานอุตสาหกรรมอาหารและสถานประกอบการทั้งในและต่างประเทศ เช่น ฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) ฝ่ายควบคุมภาพ (QC) ฝ่ายผลิต
2. ผู้ประกอบการด้านนวัตกรรมอาหารแปรรูป เช่น อาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
3. ผู้ตรวจประเมินโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร (Auditor)