อาจารย์สำรวย มะลิถอด วท.ม. สัตวศาสตร์


อาจารย์สำรวย มะลิถอด

AJARN SAMRUAY MALITHOD

SAMRUAY.MAL@MAIL.PBRU.AC.TH

วุฒิการศึกษา

  • วท.ม. (สัตวศาสตร์) สาขาสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ M.Sc. (Animal Science) Prince of Songkla University
  • วท.บ.(เกษตรศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2 สถาบันราชภัฏเพชรบุรี B.Sc. (Agriculture) Second Class Honors, Animal Husbandry Rajabhat Institute Phetchaburi

รายวิชาที่สอน 2/2559

  • 5040606 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการนันทนาการ 3(2-2-5)
  • 5042101 การผลิตสัตว์ปีก 3(2-2-5)
  • 5042802 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสัตวศาสตร์ 2 3(250)
  • 5043102 การจัดการฟาร์มพ่อแม่พันธุ์และโรงฟักไข่ 3(2-2-5)
  • 5043404 การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์ 3(2-2-5)
  • 5043804 การเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา 3(50)
  • 5044803 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสัตวศาสตร์ 3(250)
  • 5044902 ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์ 3(2-2-5)

ผลงานวิจัย/บทความวิจัย/บทความวิชาการ

  • สำรวย  มะลิถอด. 2555. การเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจากการตัดแต่งเห็ดต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพเนื้อของนกกระทาเนื้อ.
  • สำรวย  มะลิถอด. 2557. ผลการใช้ใบมะรุมแห้งบดหยาบในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่  (37-52 สัปดาห์)
  • สำรวย  มะลิถอด. 2558. ผลการใช้ใบมะรุมแห้งบดหยาบในอาหารไก่ไข่ต่อสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข่ระยะ ปลด (52-72 สัปดาห์)
  • สำรวย มะลิถอด. 2553. วิถีการผลิตและช่องทางการตลาดแพะเนื้อของเกษตรกรจังหวัดเพชรบุรี. วารสารราชภัฎวิจัยครั้งที่ 1.
  • ทวีลักษณ์ สมบัติวงศ์ขจร กิตติโชค  ลิขิตบัณฑูร และสำรวย  มะลิถอด. 2556. การประดิษฐ์ชุดการผลิตแก๊สชีวภาพอย่างง่ายขนาดเล็ก : เพื่อศึกษาความเป็นกรดด่างและปริมาณแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์. การประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมศาสตร์วิชาการ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
  • เพ็ญผกามาศ แสนสุข เปรมรัตนา ชลมุน จิตรกร  พ่วงพานทอง และสำรวย มะลิถอด. 2558. การเสริมสมุนไพรสกัด  หยาบต่อสมรรถภาพการผลิตไก่ไข่อายุ 21-36 สัปดาห์. The 2th Regional Undergraduate on Agricultral Sciences And Technology ; RUCA 2 26-27 March 2015, KMITL, PCC, Chumphon
  • สำรวย  มะลิถอด ทิพวรรณ เปลี่ยนมอญ เบ็ญจพร ประชุมรัตน์ และเพชรดา  ทิพย์ยอแล๊ะ. 2557. ความต้องการ พลังงานงานทดแทนแก๊สหุงต้มสำหรับครัวเรือนของชุมชน อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี. สมาคมพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 7
  • การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ป่าในพื้นที่วนเกษตรชุมชนบ้านถ้ำเสือ อำเภอแก่งกระจาน   จังหวัดเพชรบุรี (ผู้วิจัยหลัก). แหล่งทุน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปี 2558-2560

ประสบการณ์การทำงาน

  • พ.ศ. 2549 - 2552 พนักงานบริษัทแหลมทองสหการ จำกัด ฝ่ายเทคนิคอาหารสัตว์
  • พ.ศ. 2552 - 2555 อาจารย์ประจำหลักสูตรสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
  • พ.ศ. 2556 - ปัจจุบัน ประธานสาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ประสบการณ์การอบรม

  • พ.ศ. 2555 อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาต้นแบบ
  • พ.ศ. 2556 ผู้ใช้สัตว์ ผู้ควบคุมการเลี้ยงและใช้สัตว์ สัตวแพทย์ และกรรมการกำกับดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์ของสถาบันรุ่นที่ 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 
  • พ.ศ. 2557  การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มเลี้ยงสัตว์(ไก่เนื้อ ไก่ไข่ ไก่พันธุ์) 
  • พ.ศ. 2557 การเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ (การเขียนแผนธุรกิจ) หลักสูตรเถ้าแก่น้อย รุ่นที่ 1
  • พ.ศ. 2558 ปลูกจิตสำนึกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ภายใต้โครงการ “ข้าราชการไทไร้ทุจริต”

ประสบการณ์การสอน/วิชาที่เคยสอน

  •  
  • การผลิตสุกร
  • การผลิตโคนม
  • การจัดการฟาร์มพ่อแม่พันธุ์และโรงฟักไข่
  • การผลิตสัตว์เล็ก
  • การตรวจและการวิเคราะห์อาหารสัตว์
  • การผลิตแพะแกะ
  • การผลิตสัตว์ปีก
  • นมและเทคโนโลยีนม
  • การผลิตสัตว์ในระบบเกษตรแบบยั่งยืน
  • การจัดการพืชอาหารสัตว์
  • ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์
  • วางแผนและสถิติสำหรับการทดลองทางการเกษตร
  • สัมมนาทางสัตวศาสตร์
  • การเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา
  •        

การติดต่อ

  • ห้องทำงาน :ห้อง 1723 อาคารนวเกษตร (อาคาร 17)
  • โทรศัพท์ : -
  • อีเมล์ : samruay.mal@mail.pbru.ac.th

ติดต่อเรา

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี 38 หมู่ 8 ถ. หาดเจ้าสำราญ ต.นาวุ้ง อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 โทรศัพท์/โทรสาร 032 493 270
Email : AgriTechPBRU@gmail.com
Website : http://agriculture.pbru.ac.th


โซเชียลเน็ตเวิร์ค

Copyright 2018. All Right Reserved. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ขอสงวนลิขสิทธิ์ในการนำภาพและข้อมูลไปใช้ในเชิงพานิชย์